บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2017

Screening anemia

รูปภาพ
เนื่องจากได้มีโอกาสทำแนวทางการดูแลและคัดกรองเด็กที่มีปัญหาภาวะซีดที่โรงพยาบาล จึงขอโอกาสแชร์ข้อมูลที่อาจจะเป็นประโยชน์กับผู้อื่นบ้าง แต่หากมีข้อมูลใดที่ผมพิมพ์ผิดไปหรือไม่ถูกต้อง สามารถแจ้งได้เลยครับ ผมจะได้เรียนรู้ด้วยครับ ตาม guideline in child health supervision 2557 จะมีการคัดกรองภาวะซีดตอนช่วงอายุ  -อายุ 6 เดือน - 12 เดือน --> Hb 10 gm/dl, Hct 30% -อายุ 3 ปี - 6 ปี --> Hb 11 gm/dl, Hct 33 % -อายุ 11 ปี - 21 ปี --> Hb 11.5 gm/dl, Hct 35 % (ช่วงอายุนี้เราจะตรวจคัดกรองเมื่อเป็นวัยรุ่นหญิงที่มีประจำเดือน, ภาวะขาดสารอาหาร, กินอาหารมังสวิรัติ) เมื่อคัดกรองเจอความผิดปกติ ต้องส่งพบแพทย์ ซึ่งแพทย์จำเป็นต้องประเมินผู้ป่วย ทั้งเรื่องของ growth assessment, BW, Height, Nutritional status, ประวัติบิดามารดา การฝากครรภ์ และตรวจเลือดเพื่อประเมินสาเหตุเบื้องต้น เช่น CBC (Hb,Hct,MCV), Reticulocyte count และPeripheral blood smear  กรณีที่ไม่แน่ใจว่าเป็นอะไร เราอาจพิจารณา Therapeutic trial โดยการให้ Fe supplement  🎯 Fer-in-sol (15mg of elemental Fe/0.6ml )  🎯 Eurofer ( 10...

DKA

รูปภาพ
เพื่อนๆ เคยบ้างไหมที่อยากจะเขียน หรืออยากจะแชร์เรื่องบางอย่าง ที่เราอยากเขียนมันมาก แต่เราไม่เขี่ยวชาญด้านนั้น ( ก็คนมันอยากเขียนอ่ะ ) เอาเป็นว่าผมจะเขียนไปก่อน แล้วถ้าใครที่ได้อ่านแล้วคันปากอยากแก้ บอกผมได้เลย ผมจะเรียนรู้ด้วย 555 ผมจะเขียนในกรณีของผู้ป่วยเด็กนะครับ อาจจะมีบางอย่างที่อาจจะต่างจากของผู้ใหญ่บ้าง  DKA ( Diabetic Ketoacidosis ) กลไกหลักของการเกิด DKA :  1.เกิดจากการที่ร่างกายขาด insulin ทำให้ไม่สามารถดึง glucose เข้ามาใช้เป็นพลังงานได้ ร่างกายจึงตอบสนองโดยการสร้างน้ำตาลเพิ่มมากขึ้นผ่านกระบวนการ glycogenolysis และ gluconeogenesis ซึ่งจะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มมากขึ้น--> diabetic 2.ต่อให้น้ำตาลสูงขึ้น ร่างกายก็ใช้ประโยชน์ไม่ได้อยู่ดี ดังนั้น ร่างกายจึงหาพลังงานจากอย่างอื่น นั่นก็คือไขมัน เกิดกระบวนการ lipolysis และเกิดกระบวนการสร้าง ketone ขึ้น(ketogenesis)--> Keto 3.แน่นอนว่าการสลายไขมัน สิ่งที่เกิดตามมาคือ hypertriglyceridemia และ free fatty acid ที่เพิ่มขึ้น ยิ่งทำให้เกิดภาวะ acidosis เพิ่มขึ้น--> acidosis 4.เมื่อมีน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ก็ยิ่งขับออก...