บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก สิงหาคม, 2013

การปรับยาเบาหวาน เค้าก็มีหลักการนะ !!! ( for MD )

รูปภาพ
ดีใจที่มีผู้อ่านเข้ามาอ่านบทความเรื่อง การให้ยารักษา Hypertension กันมาก ผู้เขียนเลยปลื้มใหญ่ ซึ่งจริง ๆ แล้ว จุดประสงค์ของผู้เขียน พยายามให้แพทย์ผู้ดูแลคลินิกความดัน ได้ทบทวนความรู้ที่ถูกต้องอยู่เสมอ ไม่งั้นเราก็จะทำงานโดยใช้ spinal cord สั่งยา re-med อย่างเดียว เป็น Reflex  ตามเป้าหมายเดิม ตั้งใจจะพูดเรื่อง DM ( เบาหวาน ) ซึ่ง จริง ๆ แล้ว การให้ยารักษาเบาหวานเอง ก็มีหลักการเช่นเดียวกันกับ Hypertension แถมมียาทานให้เลือกน้อยกว่าอีกต่างหาก  แต่ทำไม๊...ทำไม..... ( ออกสำเนียงนางร้ายช่องหลายสี 555 ) ผู้เขียนก็ยังพบข้อผิดพลาดเดิม ๆ บ่อยครั้ง จึงอยากจะเขียนให้ทบทวนกันครับ  ในบทความนี้ จะไม่กล่าวไปถึงการวินิจฉัย แต่จะพูดเฉพาะจุดบกพร่องในการให้ยาที่เจอได้บ่อย  ก่อนอื่น เราต้องรู้ก่อนว่า ปัจจุบัน มียาเบาหวานให้เลือกมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นยากลุ่ม Glinide , alpha-glucosidase inhibitor , Amylin agonist , GLP-1 agonist แต่ติดอยู่ที่ราคาแพง รพ.ชุมชนทั่ว ๆ ไป จึงมีแค่ Sulfonylurea , Biguanide , Thiazolidinedione และ Insulin ฉีดเท่านั้น  ตามปกติ ถ้าเป็นแนวทางการรักษาเดิม เมื่อวิน...

การปรับยา Hypertension อย่าคิดว่าไม่มีหลักการนะ !!! ( for MD )

รูปภาพ
ช่วงนี้ เป็นช่วงสมองตันของผู้เขียน ไม่รู้จะเขียนอะไรดี 555 พอดีว่าช่วงนี้ ตรวจ Clinic DM & HT ซึ่งอย่างที่ทราบกันดี รพช.โดยทั่วไปจะมีคนไข้กลุ่ม Chronic systemic disease แบบนี้มาก เวลาตรวจใน Clinic วันหนึ่ง มากกว่า 50-60 คน ต่อครั้ง บางทีมากกว่า 100 คนต่อวัน ซึ่งหมอประจำคลินิก มีอยู่แค่เพียงวันละคนเท่านั้น ซึ่งการตรวจส่วนใหญ่ เราก็จะอาศัยการ Re-med ตลอด ทำให้บางครั้ง แพทย์เองก็พลาด บางคนควรเปลี่ยนยาก็ไม่ได้เปลี่ยน บางคนควรปรับเพิ่มหรือลดยา ก็ไม่ได้ทำ  แล้วเราจะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างไร รอผลิตแพทย์เพิ่ม อาจจะไม่ทัน ทางที่ดีผู้เขียนว่า แพทย์ในรพ. ควรจะต้องฝึกฝนเรื่องการตรวจอย่างรวดเร็วไปพร้อมกับความถูกต้องนะครับ  วันนี้ขอพูดเรื่อง Hypertension ก่อนนะครับ เรื่องนี้จะว่าง่ายก็ง่าย จะว่ายากก็ยาก  สิ่งสำคัญ เริ่มตั้งแต่การเริ่มยาคนไข้ แต่เดิมยาความดันเริ่มให้ทีละตัว ถ้าไม่ดีค่อยปรับยาขึ้นจน Max dose ถ้ายังไม่ดีจึงจะเริ่มตัวใหม่ แต่แนวทางปัจจุบันนิยมเริ่มยา 2 ตัว เป็นลักษณะ combination low dose เหตุผล เพราะ เราจะได้ไม่ต้องใช้เวลานานในการปรับยาจนความดันคนไข้อยู่ในเกณฑ์ปกต...

CEA กับการ follow up CA breast ? ( for MD )

สวัสดีครับ วันแม่นี้ มีใครทำอะไรให้แม่บ้าง ส่วนของผมเอง ผมพาพ่อแม่ไปเที่ยวหาดปากเมงที่ตรังครับ สนุกดี จนปีศาจขี้เกียจเริ่มเข้าสิง จนไม่อยากกลับไปทำงานพรุ่งนี้ 5555 แต่เนื่องด้วยหยุดมานาน เกรงใจเพื่อนร่วมงานด้วย T^T  วันนี้ นึกไม่ออกว่าจะเขียนเรื่องอะไรดี พอดีมีเรื่องที่เพื่อนผมเคยคุยให้ฟัง ไม่แน่ใจว่าเพื่อน ๆ คิดว่าอย่างไร กับ CEA กับการนัด follow up CA breast หลังผ่าตัด  ตอนสมัยเรียนเป็นนักศึกษาแพทย์ เรามักจะใช้ reflex link กันว่า CEA เป็น tumor maker ของ CA colon ซึ่งก็ไม่ได้แปลกอะไร ผมก็เข้าใจอย่างนี้มาตลอด แต่พอเพื่อนผมถามมา ผมก็เลยลองไปค้นหาคำตอบดู  CEA ( ย่อมาจาก carcinoembryonic antigen ) เป็น oncofetal intracellular glycoprotein ซึ่งสร้างจากเยื่อบุของระบบทางเดินหายใจ ทางเดินอาหาร และ ทางเดินน้ำดี ซึ่งจริง ๆ แล้วการที่ค่า CEA ขึ้น อาจเป็นภาวะที่ใช่ หรือไม่ใช่มะเร็งก็เป็นได้ เช่นคนที่สูบบุหรี่จัด จนมีการอักเสบของเยื่อบุหลอดลม มีปัญหาที่ตับ เช่น liver cirrhosis หรือเยื่อบุทางเดินอาหารอักเสบ เช่น colitis , polyp เป็นต้น  ส่วนภาวะของโรคมะเร็ง cellมะเร็งเองจะมีการ ...