บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก สิงหาคม, 2017

Neonatal conjunctivitis

รูปภาพ
ช่วงนี้ นอกจาก Dengue ที่มีความวุ่นวาย leakage กันมากมาก shock บ้าง พอใกล้พ้น critical phase ก็ดัน bleed และที่สำคัญทุกเคส ใหญ่บึ้มกันทุกคน เห้อ!!!! ( จบสถิติ DSS 5 เคส -> Death 1, Refer 2, รอด 2 ) ส่วนที่เหลือก็ Pneumonia กันหนักหน่วง เอากันเข้าไป โชคดีได้ High flow มาใช้ทันเวลา แต่......มีอยู่เครื่องเดียว แบ่งๆ กันใช้ทีละคนนะลูก  โชคดีที่มีเคสอื่นๆ มาให้ได้ทบทวนความรู้กันบ้าง ไม่ยาก แต่น้องมักจำกันไม่ได้ วันนี้เลยถือโอกาส ทบทวนความรู้เรื่อง Neonatal conjunctivitis Case Newborn อายุ 7 วัน เริ่มมีขี้ตาเป็นหนองเหลืองเขียว ที่ตาทั้งสองข้างมา 1 วัน หนังตาบวมแดง  ☝เนื่องจากผู้เขียนลืมถ่ายรูปมา เลยขออนุญาตใช้รูปของเว็ปอื่นมานะครับ เมื่อเราพบเด็กแรกเกิดที่มีปัญหา conjunctivitis Differential diagnosis ที่ต้องคิดถึง 🎯 Chemical conjunctivitis : สาเหตุเกิดจากการใช้ยาหยอดตา ที่เจอบ่อยจะเป็นกลุ่ม AgNO3 ที่หยอดตาหลังคลอด เพื่อป้องกันการเกิด Ophthalmia neonatorum พวกนี้มักจะเกิดภายใน 24-36 ชั่วโมงหลังคลอด แต่เนื่องจาก ร.พ.ส่วนใหญ่จะเปลี่ยนไปใช้พวกantibiotic ointment ซึ่งไม่ทำให้เกิดcom...

Sedation in Pediatrics

รูปภาพ
น้องๆ หลายคนกังวลใจเกี่ยวกับเรื่องของการให้ sedation ในเด็ก วันนี้ก็เลยถือโอกาสอธิบายความรู้นิดๆหน่อยๆ พอให้ manage คนไข้เบื้องต้นได้  ก่อนที่จะให้ Sedation ผู้ป่วย เราต้องรู้ก่อนว่า เราต้องการระดับการ sedation แบบไหน เช่น 😷 Minimal sedation เป็นลักษณะของการคลายความวิตกกังวล โดยที่การตอบสนองต่อคำพูดได้ แต่ช้ากว่าปกติ ไม่มีผลต่อ Airway, Breathing, Circulation ซึ่งเราอาจจะเลือกใช้ในหัตถการที่ต้องการความร่วมมือของผู้ป่วยด้วย เช่น การเย็บแผลในเด็ก, การทำ I&D, LP แต่เราต้องให้local analgesia ร่วมด้วย, การตรวจCT or MRI, แม้กระทั่งการเจาะเลือดในเด็กที่มีความเสี่ยงspell เช่น ❤️Midazolam หรือ Dormicum ที่น้องๆ รู้จักกันดี โดย dose 0.05-0.1mg/kg/dose (maximum 0.4-0.6mg/kg/dose) เป็นยาที่ออกฤทธิ์เร็ว (short acting benzodiazepine) ให้ได้ทั้ง IV&IM โดย onset ภายใน 2-3 นาที ส่วนDuration 45-60 นาที ถ้าหวังค่ระดับ minimal sedation ควรให้ dose ต่ำๆ เพราะอาจมีภาวะแทรกซ้อนทั้ง Respiratory depression, Hypotension, Renal failure และ congestive heart failure ❤️Chloral hydrate ถือเป็น sedation ...

ESBL-Producing organism

รูปภาพ
จริงๆ ช่วงนี้เหนื่อยและอ่อนเพลีย ไม่มี idea จะเขียนเรื่องเท่าไหร่ แต่พอดีมีเคสเข้ามา ก็เลยพยายามลองเขียนดูสักหน่อยครับ  หลายครั้งเวลาราวน์วอร์ดกับน้องๆ สิ่งหนึ่งที่เป็นปัญหาบ่อยครั้ง คือ น้องๆเมื่อเห็น ผล Culture ขึ้นเชื้อ น้องๆ ก็จะไปมอง susceptibility test และดูว่า sense กับยาอะไร แล้วก็เลือก Antibiotic ที่ผลรายงานว่า sense กับล่าสุดเคสผู้ป่วยหญิงที่เป็น Immunocompromised host มาด้วย UTI และเมื่อทราบผลว่าเป็น E.Coli ที่ resist ต่อ Cephalosporin แต่ sense ต่อ Amoxy/Clav นั่นก็บ่งบอกว่าเป็น ESBL + แต่น้องเห็นว่า sense กับ Quinolone น้องจึงปรับ antibiotic เป็น Ciprofloxacin ? ผมจะอธิบายคร่าวๆเกี่ยวกับ ESBL. นะครับ ESBL = Extended-Spectrum beta-lactamase ซึ่งเป็นenzyme ที่มักพบในเชื้อกลุ่ม gram negative bacilli เช่น  E.coli, Klebsiella, Enterobacteriacae ซึ่งenzyme ตัวนี้จะทำลาย extended spectrum cephalosporin ไม่ว่าจะเป็น Ceftriaxone, Cefotaxime, Ceftazidime และ Enzyme ตัวนี้สามารถถูกยับยั้งด้วย Beta-lactamase inhibitor แต่ BL/BI ไม่สามารถกำจัดเชื้อได้ ยกเว้น Piperacillin/Tarzo...